หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
การออกแบบนวัตกรรมในการแก้ปัญหาการผลิตโคเนื้อของประเทศไทย
นวัตกรรมในการแก้ปัญหาการผลิตโคเนื้อของประเทศไทย
โดย ผศ.ดร.ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
7 กรกฎาคม 2015 เวลา 12:54 น.
“นวัตกรรมในการแก้ปัญหาการผลิตโคเนื้อของประเทศไทย” นั้นจำแนกได้ 4 ส่วน ได้แก่ สถานภาพปัญหาการผลิตโคเนื้อ สาเหตุของปัญหาในการผลิตโคเนื้อการออกแบบนวัตกรรมเพื่อลดปัญหา และแนวทางปฏิบัติเพื่อลดปัญหา ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
หนังสือค่าการผสมพันธุ์โคนม 2560
ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ University of Florida เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินความสามารถทางพันธุกรรมโคนมของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลพันธุกรรมจีโนมโคนมรายตัว ซึ่งนับเป็นครั้งแรกของประเทศไทย และยังเป็นครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย สำหรับลักษณะที่สำคัญทางเศรษฐกิจที่ถูกใช้เพื่อประเมินความสามารถทางพันธุกรรมจีโนม (Genomic Estimated Breeding Value; GEBV) ของพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ และแม่โครีดนม ได้แก่ ระยะให้นม ไขมันนม โปรตีนนม ของแข็งรวม เซลล์โซมาติก อายุผสมติด น้ำนมเริ่มต้น และน้ำนมสูงสุด ซึ่งเกษตกรผู้เลี้ยงโคนมสามารถนำไปคัดเลือกและจับคู่ผสมพันธุ์ เพื่อสร้างโคนมทดแทนรุ่นลูกที่มีคุณสมบัติดีเด่นกว่าพ่อแม่ของพวกมันภายใต้เงื้อนไขการผลิตต่างๆ ในประเทศไทย
ผู้สนใจสามารถติดตามรายละเอียดได้จาก www.dpogenetics.com
หรือดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ ...
Agriculture-KU-Presentation
บรรยายแนะนำคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์